วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้


2.1 ข้อมูล  สารสนเทศ และความรู้

ความก้าวหน้าของเทคโลโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน  ทำให้ในแต่ล่ะวันมีการผลิตข้อมูลขึ้นมา
จำนวนมาก  ข้อมูลบ้างส่วนจะนำมาประมวลผลเพื่อนำไปประยุคต์ใช้ในด้านต่างๆ  ตัวอย่างเช่น
ข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละวัน  ซึ่งสามารถช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้
ได้เพียงค้นหาข้อความ  รูปภาพ  หรือวีดิทัศน์  ที่ตรงกับความสนใจเท่านั้น   แต่ไม่สามารถนำข้อมูลเหล่านี้
มาประมวลผลและแสดงความรู้ที่แฝงอยู่ได้อย่างมีประสิทธิผล


จากการสังเกต  การทดลอง  เช่นบันทึกไว้เป็น  ตัวเลข   ข้อความ  รูปภาพ  และสัญลักษณ์

สารสนเทศ(information)  คือ  ผลลัพธ์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผล  เพื่อให้ได้
สิ่งที่เป็นประโยนช์ในการนำไปใช้งานมากขึ้น  เช่น  ส่วนสูลของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ล่ะคน
ในชั้นเรียนเป็นข้อมูล  จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้มาเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย
หรือการหาค่าเฉี่ลยของส่วนสูงของนัหเรียน
 
ความรู้(knowledge)  เป็นคำที่มีความหมายก้วาง  และใช้กันโดยทั่ว  ในด้านวิทยาการ
คอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ในหลายแง่มุม  ตึความหมายในแง่มุมหนึ่ง
ที่สอดคล้องกับข้อมุลและสารสนเทศความรู้  คือสิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัด
รูปแบบและประมวลผลเพื่อนำไปประยุคต์ใช้ปัญหาที่ต้องการนำข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก่ไข
 
ตัวอย่างที่2.2  สมมุติว่าเราไม่เคยมีความรู้มาก่อนเลยว่า   เพราะเหตุใดนักเรียนบางคน จึงสูง
กว่านักเรียนคนอื่น  เราสามารถนำส่วนสูงของนักเรียนแต่ละคนมาจับคู่กับคุณสมบัติอื่นๆ  เช่น
ลักษณะนิสัยการรับประทานอาหาร  (รับอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำหรือไม่)  และ
ความถี่ในการออกกำลังกาย  (ทุกวัน  สัปดาห์ละ  3  ครั้ง  เดือนละครั้ง  หรือน้อยครั้ง)

2.2การจัดการความรู้  (knowledge  management)

ในการบริหารองค์กร  สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแต่ไม่สามารถประเมินคุณค่าเป็นตัวเงินได้  คือ  ความรู้
ที่ได้จากการปฏิบัติงาน   เนื่องจากในการทำงาน   การแก้ปัญหา    การแสวงหาความรู้   การนำความรู้
มาปรับใช้   โดยพนักงานในระดับต่างๆ  เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ในการทำงาน  พนักงานที่ปฎิบัติงาน
หนึ่งคน  จะต้องใช้ความรู้และทกษะเฉพาะอย่างไร  เพื่อทำงานให้ลุล่วงไปได้  ซึ่งการจะทำให้พนักงาน
หนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นนั้น  จะต้องใช้การอบรมเพื่อสร้างความรู้รวมถึงทักษะให้กับ
พนักงานเหล่านี้  ซึ่งความรู้ที่ถ่ายทอดให้แก่พนักงานนี้  จัดว่าเป็นทุนทางปัญญา(intellectual  capital)
ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างสูงกับองค์กร   เพราะความรู้บ้างอย่างต้องใช้งบประมาณและเวลาในการ
สร้างขึ้น  ทำอย่างไรจึงจะสามารถจัดการความรู้ในองค์กรเหล่านี้ให้เกิดประสิทธ์ภาพสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้   สามารถช่วยองค์กรในการจัดการความรู้เหล่นนี้ได้
โดยระบบนี้จะทำงานแตกต่างกันไปตามจุดมุ้งหมายขององค์กร   ซึ่งผู้ใช้องค์กรที่อาจประกอบด้วย
พนักงานทั่วไป   ผู้บริหาร  หรือบุคคลภายนอก  จะเป็นผู้สร้างสารสนเทศเพื่อเก็บไว้ในระบบนี้
โดยระบบจะต้องสามารถจัดหมวดหมู่  ค้นหา  รวมถึงกระจายสารสนเทศเหล่านี้ให้กับผู้ใช้คนอื่นเพื่อให้ผู้ใช้แต่ละคนสามารถนำสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิ์ของตนเอง

2.3ลักษณะของข้อมูลทึ่ดี

มีคำกล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไว้อย่างหน้าฟังว่า  ถ้าข้อมู,เค้าเป็นขยะสิ่งที่ออกมาก็จะเป็นขยะ
(Gardage  In,  Gardage  Out)  ซึ่งหมายความว่าถ้าข้อมูลที่นำไปประมวลผล
เป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะด้วยคุณภาพไปด้วย
1)ความถูกต้องของข้อมูล  เป็นลักษณะยิ่งของข้อมูล  ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย  ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญที่เกิดขึ้นโดนเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่  และไม่มีการตรวจสอบเช่น  ข้อมูลมนโลกอินเตอร์เน็ตซึ่งจำเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อนจะนำมาใช้เสนอ
เช่นข้อมูลเสียงเก็บจากไมโครโฟน

2)ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนำไปใช้งาน  ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วนจัดเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพ
ได้เช่นกันข้อมูลประวัติคนไข้  หากไม่มีหมู่เลือนของคนไข้จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้    หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า  เป็นต้น

3)ความถูกต้องตามเวลา
ในบางกรณีข้อมูลผูกกับเงื่อนไขของเวลา  ซึ่งถ้าผิดจากเงื่อนไขของเวลาไปแล้ว  ข้อมูลนั้นอาจรถคุณภาพ
ลงไป   หรือแม้กระทั้งอาจไม่สามารถใช้ได้  เช่น
2.11ในทางการแพทย์แล้วข้อมูลจะต้องถูกใส่
เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ได้ยา  เพื่อให้แพทย์คนอื่นๆ  ได้ทราบ  คนไข้ได้รับยาชนิดนี้ไป

4)ความสอดคล้องกันของข้อมูล   ในกรณีที่ข้อมุลนั้นมาจากหลายแห่ง  จะเกิดปัญหาในเรื่อง
ของตวามสอดคล้องกันของข้อมูล  เช่น  ในบรษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า
หากต้องการนำข้อมูลไปควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีข้อมูลของลูกค้าอยู่เช่นกัน
แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัทแห่งแรก  เป็นที่อยู่ของที่พักอาศัยของลูกค้า
ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ทำงานของลูกค้า  ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง

2.4การจัดเก็บข้อมูล

เมื่อเห็นความสำคัญของข้อมูลแล้ว  ทำอย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูล
เหล่านั้นให้คงอยู่    รวมถึงทำให้สามารถประมวณผลข้อมูลนั้นอย่างรวดเร็ว
โดยมากแล้วจะรวมไว้ในฐานข้อมูล   ซึ่งนำมาใช้ในการจัดเก็บ
.การจัดเก็บอย่างมีประสิทธ์ภาพ
.การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว
.การจำกัดสิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร


1)เขตข้อมูล       (field)     เมื่อนำข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ  ที่ต้องการเก็บ
ในฐานข้อมูล   เราจะจัดข้อมูลมารวมกันที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความหมายบ้างอย่าง

.จำนวนเต็ม      (integer)  คอมพิมเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด  32  บิต  ซึ่งขนาด
ตัวเลขนี้อาจเปปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเตรื่องคอมพิวเตอร์ตัวเลขสองขนาด32บิต
สามารถแทนจำนวนเลขจำนวนเต็มได้ตั้งแต่-2.147.483.648  ถึง  3.147.483.647
เป็นตัวเลขจำนวนเต็มที่ไม่ระบุเครื่องหมาย

.จำนวนทศนิยม  (decimal  numder)  ในคอมพิวเตอร์  จะเก็บตัวเลขทศนิยม  โดยใช้ระบบ


โฟลททิงพอยต์   (floating   point )       ซึ่งการเก็บลักษณะนี้ไม่มีการกำหนดตำแหน่งตายตัวสำหรับ
ตำแหน่งของจุด

.ข้อคาวม    (text)    ในการแทนข้อคาวมนั้นจะต้องเปลี่ยนข้อคาวมให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักษร
แต่ละตัวเสียก่อนตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสเอสกี  (ASCII  code)

.วันเวลา   (date/time)  ข้อมู,ที่เป็นวันเวลา  เช่น  วันที่เริ่มใช้งาน   วันลงทะเบียน
และเวลาที่ซื้อสินค้า  มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น

.ไฟล์   (file)  เขตข้อมูลบ้างประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้
เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่

2)ระเบียบ    (record)      คือ  กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน  โดยเขตข้อมุลแต่ละ
ส่วนอาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน

3)ตาราง    (tadle)   คือ  กลุ่มของระเบียบ   ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียบจะเก็บข้อมูลที่มี
คาวมสัมพันธ์กัน   ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆ  ระเบียบ

4)ฐานข้อมูล  (datadase เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกันตารางแต่ละตาราง
จะมีความสัมพันธ์กันโดนใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมืนอกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน
บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของต้นเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่นๆ
2.5จริยธรรมในโลกของข้อมูล
คำว่าจริยธรรมเป็นคำที่มีความหมายกว้าง
แม้กระทั้งในด้านคอมพิวเตอร์   ก็มีการกล่าวถึง
ในเรื่องจริยธรรมเช่นกัน  ในที่นี้จะกล่าวถึง
จริยธรรมในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสาสนเทศในประเด็นต่างๆ




2.5.1ความเป็นส่วนตัว
เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น   ทำให้การรวบรวมข้อมูล
การเข้าถึง   การค้นหา   และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทำได้ง่ายและเร็วขึ้น
ทำให้ข้อมูลบ้างประเภทที่มีความเป็นส่วนตัวสูง  เช่น  เลขประจำตัวประชาชน   วันเดือนปีเกิด


2.5.2สิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูล
เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลในการเก็บข้อมูล
ในฐานข้อมูลจะมีการกำหนดสิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ในแต่ละกลุ่ม
โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้คนหนึ่งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่าจะเข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง


มาตรา5

ผู้ใดเข้าถึงโดยไม่ซึงระบบ
คอมพิวเตอร์มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดย
เฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน  หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท


มาตรา7

ผู้ใดเข้าถึงข้อมูลมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับต้น   ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่เหมือนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ


มาตรา8

 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกเหมือนบาท

2.5.3ทรัพย์สินทางปัญญา

ในกระบวนการผลิตโปรแกรม  ระบบปฏิบัติการ  รูปภาพ  เพลง  หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
จำเป็นต้องมีต้นทุนสูง   และใช้เวลาในการผลิตยาวนาน   แต่เมื่อสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่
ในรูปแบบของข้อมูลดิจิทัล  ผู้ใช้คนอื่นๆ  สามารถทำซ่ำและนำไปใช้โดยไม่ได้
จ่ายเงินให้กับผู้ผลิตก่อให้เกิดความเสียทางหายธรุกิจเจ้าของข้อมูล 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น