วันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



1.1ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก
ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่(mobile phone)
องค์กรรัฐบาลได้เห็นความสำคัญของระบบเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารจึงประกาศให้ปี พ.ศ.2538 เป็นชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบัน มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารต่างๆมากมาย ดังรูปที่1.2
1.การเรียนทางไกลผ่านทางเครื่อขายคอมพิวเตอร์       

2.การสั่งซื้อสินค้าและชำระเงินทางบัตรเคดิต
     ผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

3.การเบิกเงินด้วยบัตรเอทีเอ็มจากตู้เอทีเอ็มของ                         
   ธนาคารต่างๆ 

     
   4.การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล(electronic mail:e- mail)
      ซึ่งเป็นการส่งข้อความถึงกันผ่าน เครือข่าย
          คอมพิวเตอร์ผู้รับสามารถเปิดคอมพิว
        เตอร์เพื่ออ่านจดหมายหรือข้อความต่างๆ
           

คำว่า  เทคโนโลยีสารสนเทศ  ( Information  Technology: IT)  เรียกย่อว่าไอทีประกอบด้วยคำว่า(เทคโนโลยี) และคำว่า สารสนเทศ นำมารวมกันเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศและคำว่า
เรียกย่อๆว่า(ไอซีที)
  
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุคต์เพื่อสร้างจักการกับสานสนเทศอย่างเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ตต่อบุคคล กลุ่มบุคคลหรือ องค์กรทั้งนี้ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศยังต้องพึ่งพาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ซึ่งเป็นวิธีการที่จะส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อการแลกเปลี่ยนหรือเผยแพร่ข้อมูล   และสารสนเทสได้อย่างรวจเร็วทันต่อการใช้ประโยชน์ผ่านอุปกรณ์สื่อสารเช่นวิทยุ โทรศัพท์ เครื่อโทรสาร คอมพิเตอร์ คลื่นวิทยุ และดาวเทียม1.3ดังนั้นในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารจึงมักจะใช้ควบคู่กัน
.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  ตามแผนแม่บทเมคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล  และการสื่อสารนับตั้งแต่การสร้าง  การนำมาวิเคราะห์หรือการประมวณผล  การรับและการสื่อสารและการนำข้อมูลกลับไปใช้งานใหม่

  1.2องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทส  เป็นระบบที่ช้วนเสริมประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร  ระบบสารสนเทศประกอบด้วย
1.2.1ฮาร์ดแวร์  (hardware) หมายถึง  ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ
1.2.2 ซอฟต์แวร์   (softwart)      หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆเพื่อให้ทำงานตามคำสั่งของผู้ใช้งาน

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
1.เปิด.ปิดเครื่อง
2.การจัดการด้านความปลอดภัย
3.ควบคุมระบบเครือข่าย
4.ปรับปรุงระบบให้เป็นปัจจุบัน
5.จัดการโปรแกรมจัดการข้อมูลและโปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
6.ทำงานร่วมกับอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ
7.เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
8.การจัดการหน่วยความจำ
9.กำกับการดูแลของเครื่อง
10.การจัดการโปรแกรม
11.การติดต่อผู้ใช้งาน

1)ระบบปฎิบัติการ(operating  System:OS)เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์






2)โปรแกรมอรรถประโยนช์(utilities  program) เป็นโปรแกรมที่ช้วยเสริมการทำงานของคอมพิวเตอร์หรือช้วยโปรแกรมใช้งานอื่นๆให้มีความสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น








3)โปรแกรมขับอุปกรณ์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์(devicw  driver)เป็นโปรแกรมที่ช้วยในการติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรือใช้งานอุปกรณ์ต่างๆได้ดังรูป  1.8




4)    โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลงโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษษคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้                            
                                                       
    




     %ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (applicaton  software)  หมายถึง  ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างไร


1.2.3ข้อมูล(data)ข้อมูลจะถูกรวบร่วมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า  เช่นคีย์บอร์ด์  เมาส์  และสแกนเนอร์(scanner)
1.2.4บุคลากร(people)บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของระบบสารสนเทศในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ
1.2.5ขั้นตอนการปฎิบัติงาน(procedure)มีขั้นตอนการปฎิบัติงานที่เป็นลำดับขั้นชัดเจน  เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่ายและดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่น  ขั้นตอนการทำสำเนาข้อมูลขั้นตอนการปฎิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย  หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆเกิดการชำรุดเสียหายขั้นตอนต่างๆเหล่านี้ควรได้รับการรวบร่วมและจัดทำให้เป็นรูปเล่มของคู่มือการใช้งาน
1.3ประโยชน์และตังอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีส่วนทำให้ชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทยในปัจจุบันมีความสะดวกสบายมากขึ้น  ทำให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่ายและรวดเร็ว
มีการทำกิจกรรมหลายสิ่งหลายอย่างร่วมกันง่ายขึ้น  เช่น
1.3.1ด้านการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา

1.3.2ด้านการแพทย์และสาธารณสุขเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เริ่มตั้งแต่การทำทะเบียนคนไข้  ตลอดจนการวินิฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ
1.3.3ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเทคโนดลยีสารสนเทศและการซื้อสารถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม  เช่นการจัดการระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตรนอกจากนี้ยังช้วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอตสาหกรรม  การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทำงานบ้านและหุ่นยนต์ที่ต้องเสี่ยงภัยและเปงอันตรายต่อสุขภาพ

1.3.7ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรม
มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ  หรือจำลองสภาวณ์ต่างๆ

1.3.8ด้านการพาณิชย์  องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในการบริหารจัดการเพื่อช้วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับองกรณ์ในการทำงานทำการประสานงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆของแต่ล่ะหน่วยในองค์กรหรือระหว่างองค์กรเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
1.4แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารเมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตถึงปัจจุบันเห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์สื่อสารแบบพงพามากขึ้นเรื่อยๆๆเริ่มจากวิทยุเรียกตัวซึ้งเป้นเครื่องรับข้อความ  มาเป็นโทรศัพทืเครื่อนที่อุปกรณสื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานในด้านอื่นๆๆๆได้นอกจากกรพูดคุยธรรมดาโทรศัพท์เคลือนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ารูป  ฟังเพลง    ฟังวิทยุบ้างรุ่นมีลีกษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลได้   (personal  Digital  Assistant:  PDA)ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้อีกทั้งยังมีแบบหน้าจอสำผัส  ทำให้สดวกต่อการใช้งานมากขึ้น

1.4.2ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์และอุปกรเชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว(stand  alone)ต่อมามีการเชื่อมต่อึอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร  เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน  หรือใช้เครื่อพิมร่วมกันจนเกิดเป็นระบบรับและให้บริการ  หรือที่เยกว่าระบบรับ-ให้ยริการ(client-server  system)
โดยมีเคร่องให้บริการ(server) และเครื่องรับบริการ(client)ปัจจุบันมีการใช้แลนไร้สาย(wirelessLAN)ในสถาบันการศึกษาและองค์กรหลายแห่งการให้บริการแลนไร้สายหรือไวไฟ(wi-fi)ตามห้างสรรพสินค้า  ร้านขายเคลื่องดืม  หรือห้องรับรองของโรงแรมใหญ่ๆ   ภายใต้ความร่วมมือของผู้ให้บริการทำให้นักธุรกิจสามารถดำเนินธุรกิจผ่านระบบอินเตอร์เน็ตแบบไร้สายได้
1.4.3ด้านเทคโนโลยีระบบทำงานอัตโนมัติสามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามาแทนีท่ที่มากขึ้น  เช่น  ระบบแนะนำเส้นทางจราจร     ระบบตรวจหาตำแหน่งของวัติถุ     ระบบควบคุมความปลอดภัยในอาคาร  เกี่ยวข้องมากกว้าที่เป้นอยู้ในปัจจุบัน
1.5คาวมเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว

1)ด้านสังคม  สภาพเหมือนจิง  การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำงานต่างๆจนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อทางอินเตอร์เน๊ตหรือที่รู้จักกันว่าไซเบอร์สเปซ  ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆเช่นพูดคุย  การซื้อสินค้าและบริการการทำงานผ่านทางเคลรือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดสภาพที่เสมือนจิง
2)ด้านเศษฐกิจ  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลก่พิวัฒน์
เพราะสามารถชมข่าวชมรายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายเสียผ่านดาวเทียมของประเทสต่างๆได้ทั่วโลกสามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันทีใช้อินเตอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันระบบเศษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศ  ก็กระจายเป็นเศรฐกิจโลกเกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว่งาขวางอย่างรวดเร็ว

3)ด้านสิ่งแวดล้อม  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติสิ่งแวดล้อมเช่นระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั้งโดยใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมร่วมกับการเก็บระดับข้อมูลระดับน้ำทะเลความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์

1.6ตัวอย่างทางด้านอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตัวอย่างอาชีพด้าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

-นักเขียนโปรแกรมหรือแกรมเมอร์
(programmer)
ทำหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานต่างๆเช่น
โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
โปรแกรมที่ใช้กับในงานด้านบัญชี
โปรแกรมที่ใช้กับระบบงานระบบขนาดใหญ่ขององค์กร

-นักวิเคราะห์ระบบ
(system analyst)
ทำหน้าที่ในการศึกษาวิเตราะห์และพัมนาสารสนเทศให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้งานซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย

-ผู้ดูแลและบริหารข้อมูล
(database administrator)
ทำหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล
(database)รวมถึงการออกแบบบำรุงรักษาข้อมูลและการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูลเช่นการกำหนดบัญชีผู้ใช้ การกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้



-ผู้ดูและและบริหารระบบ
(syatem administrator)
ทำหน้าที่บริหารและจัดการระบบ
คอมพิวเตอร์ในองค์กร  โดยดูแลการติดตั้ง
และบำรุงรักษาระบบปฏิบัติการ  การติดตั้ง
ฮาร์ดแวร์  การติดตั้งและการปรับปรุง
ซอฟต์แวร์สร้าง  ออกแบบและบำรุงรักษา
บัญชีผู้ใช้  สำหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและ
บริหารระบบ

-ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย
(network  administrator)
ทำหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และดูแลรักษา
ความปลอดภัยระบบเครือข่ายขององค์กร
เช่น  ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของพนักงานและติดตั้งโปรแกรมป้องกันผู้บุกรุกเครือข่าย

-ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์
(wedmaswer)
ทำหน้าที่ออกแบบพัฒนา  ปรับปรุง
และบำรุงรักษาเว็บไซต์ใหมีความทันสมัย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูล
ให้เป็นปัจจุบันเสมอ





-เจ้าหน้าที่เทคนิค
(technician)
ทำหน้าที่ซ่อมบำรุงรักษาเครื่อง
คอมพิวเตอร์  ติดตั้งโปรแกรม  หรือติดตัง
ฮาร์ดแวร์ต่างๆและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิด
จากการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใน
องค์กร

-นักเขียนเกม
(game maker)
ทำหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรม
เกมคอมพิวเตอร์  ในปัจจุบันนี้การเขียนเกม
คอมพิวเตอร์  เป็นอาชีพที่ได้รับความนิยม
อย่างสูงในประเทศไทย







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น