วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

4.1 บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.1 บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การติดต่อสื่อสารเป็นการพูดคุยหรือส่งข่าวสารกันของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วนท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรือผ่านทางตัวอักษร โดยส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารในระยะใกล้ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้าขึ้นมึการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับใช้ในการสื่อสาร ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกล และสะดวกรวดเร็วมากขึ้น เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรสาร
ปัจจุบันี้มีการติต่อสื่อสารผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต


การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
1) ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล ปัจจุบันมีข้อมูลจำนวนมากสามารถถูกส่งผ่านเครือข่ายการสื่อสารได้อย้างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
2) ความถูกต้องของข้อมูล การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพวเตอร์ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
เป็นการส่งแบบดิจิทัล
3)ความเร็วของการรับส่งข้อมูล  การใช้คอมพิวเตอร์ในการส่งข้อมูลหรือหาข้อมูลจากฐาน
ข้อมูลขนาดใหญ่ทพได้อยา่งรวดเร็ว  เนีืองจากสัญญาทางไฟฟ้าด้วยความเร็ซไกล้เคียง
4)การประหยัดในการใช้จายในการสื่อสารข้อมูล  การรับและส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
สามารถทำได้ในราคาถูกการสื่อสารแบบอื่น
5)การสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ในองค์กรสามารถใช้อุปกรณ์ สารสนเทศรวมกันได้โดย
ไม่ต้องเสียต่าใช้จ่ายติดตั้งให้กับอุปกรณ์ให้กับทุกเครื่อง
6)ความสะดวกในการประสารงาน  ในองค์กรที่มีหน่วยงานย่อยหลายแห่งที่อยู่ห่างไกล้สามารถทำงานประสารกันผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
7)ขยายบริการขององค์กร  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้องค์กรสามารถกระจายที่่ทำการ
ไปตามจุดต่างๆ ที่ต้องการให้บริการ
8)กรสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครื่อข่าย  การให้บริการต่างๆ  ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้บริการได้ทุกทีทุกเวลา

4.2การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล  หมายถึง  การเเลกเปลี่ยนข้อมูล/ข่าวสารโดยผ่านทางสื่อกลางในการสื่อสาร
ซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายก็ได้  องค์ประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ดังรูปที่4.4 ประกอบด้วย

1.ข้อมูล/ข่าวสาร  (data/message)  คือ  ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆที่ต้องการส่งไปยังผู้รับ
โดยข้อมูล/ข่าวสารอาจประกอบด้วยข้อความ  ตัวเลข  รูปภาพ  เสียง  วิดิทัศน์หรือสื่อประสม

2.ผู้สง  (sender)  คือ  คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร  ซึ่งอาจเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์  โทรศัพท์  กล้องวิดิทัศท์  เป็นต้น

3.ผู้รับ(receiver)  คือ  คนหรืออุปกรณที่ใช้สำหรับข้อมุล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่งข้อมูลส่งให้
ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์  โทรศัพท์  เป็นต้น

4.สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmissio  media)  คือ  สิ่งที่ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมุล
ข้าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง  โดยสื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย

5.โพรโทคอน (protocol)  คือ  กฏเกณฑ์  ระเบียบ  หรือข้อปฎิบัติต่างๆ  ที่กำหนดขึ้นมา
เพื่อเป็นข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับผู้ส่ง




4.2.1  สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ  สัญญาณเเอนะล็อก
(analog  signal)  และสัยญาณดิจิทัล

4.2.2การถ่ายโอนข้อมูล  เป็นการส่ง
สัญาณออกจากอุปกรณ์ส่ง ไปยังอุปกรณรับ
โดยจำแนกได้2แบบคือ
1)การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาด
2)การถ่ายโอนข้อมูลเเบบอนุกรม

4.2.3รูปแบบการรับส่งข้อมูล
สามารถเเบ่งได้เป็น3แบบดังนี้
1)การสื่อสารทางเดียว
2)การสื่อสารสองทางครึ่งอัตตรา
3)การสือสารสองทางเต็มอัตตรา

4.3  สื่อกลางในการสือสารข้อมูล
การสือสารทุกชนิดต้องอาศัยสือกลางในการส่งผ่านข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทาง
4.3.1สื่อกลางแบบใช้สาย
1)สายคู่บิดเกรียว  (twisted  pair  cadle)
2)สายโคเอกซ์ (coaxial  cadle)
3)สายไปเบอร์ออพติก (fiber-opdic  cadle
4.3.2สื่อกลางแบบไร้สาย


สื่อกลางข้องการสื่อสารเหล่านี้ เช่น  อินฟราเรด  ไมโครเวฟ คลื่อนวิทยุ
1)อินฟราเรด  สื่อกลางประเภทนี้มักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกรีดขวางระหว่างตัวส่ง
และตัวรับสัญญาณ
2)ไมโครเวฟ เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง  ใช้สำหรับการเชื่อมต่อระยะไกล
โดยการส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ได้การส่ง
3)คลื่อนวิทยุ  เป็นสื่อกลางที่ใช้ส่งสัญยาณไปในอากาศ โดยสามารถส่งในระยะทางได้ทั้งไกล
และไกล้
4)ดาวเทียมสื่อสาร   พัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับส่งไมโครเวฟบนผิวโลก
โดยเป็นสถานีรับส่งส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ




4.4   เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  (computer  network)   เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพวงเข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลและทรัพนากรร่วมกันได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคุมใช้งาน
ของเครือข่าย

1)เครื่อข่ายส่วนบุคคล  หรือแพน(Personal  Area  Networt: PAN)  เป็นเครือข่ายที่ใช้
ส่วนบุคคล  เช่น  การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เเละโทรศัพท์มือถือ

2)เครือข่าเฉพาะที่  หรือเเลน (Local  Area  Network: LAN)เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน

3)เครือข่ายนคนหลวง หรือเเมน  (Metropolitan  Area  Network: MAN)เป็นเครือข่าย
ที่เชื่อมโยงเเลนที่อยู่หางไกลออกไป

4)เครือข่ายวงกว้าง  หรือแวน (Wide Area  Networt: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้
ในการเชื่อมโยงกับเครืองข่ายอื่นที่อยู่ไกล้จากกันมาก


4.4.1ลักษณะของเครือข่าย   ในการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการสื่อสารได้ดังนี้

1)เครือข่ายเเบบรับ-ให้บริการ หรือไคลเอนท์/เซิร์ฟเวอร์   เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องให้บริการต่างๆ

2.เครือข่ายระดับเดียวกัน  (Peer-to-Peer  network: P2P  network)เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเป็นได้ทั้งเครื่องให้บริการเเละเครื่องรับบริการในขณะเดียวกัน  การวช้งานส่วนใหญมักใช้ในการเเบ่งปันข้อมูล

4.4.2รูปร่างเครือข่าย  การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็น
เครือขายมีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ

1)เครือข่ายเเบบบัส (dus  topology) เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างไม่ยุ้งยาก  สถานีใน
เครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียวที่เรียกว่า  บัส (bus)  การจัดส่งข้อมูลลงใน
บัสจึงไปถึงทุกสถานีได้

2)เครือขายเเบบวงเเหวน  (ring  topology)เป็นการเชื่อมโยงเเต่ละสถานีเข้าด้วยกัน
วงเเหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยูในวงเเหวนไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับ หากข้อมูลที่ส่งเป็นของ
สถานนี้ได้สถานนี้นั้นก็รับไว้ ถ้าไม่ใช้ก็ส่งต่อไป

3)เครือขายเเบบดาว(star  topology)  เป็นการเชื่อมต่อสถานี้ในเครื่อข่าย  โดยทุกสถานี้จะ
ต่อเข้ากับหน่อยสลับสายกลาง

4)เครือขายเเบบเมซ    (mesh    topology) เป็นรูปแบบของการเชื่อมต่อที่มีความนิยมมาก
และมีประสิทธภาพสูงเนื่องจากถ้ามีเส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ไดคู่หนึ่งขาดจากกันการติดต่อสื่อสารระหว่างคู่นั้นยังสามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง


4.5โพรโทคอล
การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์  และอุผกรณ์เครือข่ายที่ผลิตหลายลายผ่านทาง
ระบบต่างๆเครือข่ายชนิดต่างๆ  กัน  ไม่สามารถเชื่องต่อโดยตรงกันได้
.
ทีซีพี/ไอพี(Transmission  Control   Protocol  /   Internet  Protocol:  TCP/IP)
เป็นโพรโทคอลที่ใช้ในการสื่อสารในระบบอินเตอร์เน็ต  โดยมีการระบุผู้รับส่งในเครือข่ายเเละจดการเเบ่งข้อมูลเป็นชิ้นเล็กๆ

.ไวไฟ  (Wireless  Fidelity:  wi-fi)มักถูกนำไปอ้างถึงเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย  ตามมาตรฐาน  IEEE  802.11ซึ่งใช้คลื่นวิทยุความถี่2.4 ฌ็ผ  เป็นสื่อกลางในการติดต่อสือสาร  ไวไปเกิด
จากการรวมกลุ่มกันของผู้ผลิตอุปกรณ์  เพื่อทดสอบว่าอุปกรณ์ที่ผลิตึขึ้นทำงานได้ตามมาตรฐาน

.ไออาร์ดีเอ  (Infred    Data  Association:  IrDA) เป็นโพรโทคอลใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
.
บูลทูท  (dluetooth)  เป็นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่2.4

4.6อุปกรณ์สื่อสาร
 อุปกรณ์การสื่อสาร  (communication  devices)  ทำหน้าที่รับเเละส่งอุปกรณ์ส่ง
และรับข้อมูล  โดยมีการส่งผ่านทางสื่อกลางดังทีี่กล่าวมาเเล้ว  สัญญาที่ส่งออกอาจอยู่ในรูปแบบ
ดิจดตอล  หรือแบบแอนะล็อก  ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับสื่อกลางมราใช้ในการเชื่อมต่อ

1)โมเด็ม  (modem)  เป็นอุปกรณที่แปลสัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแอนะล็อก  และแปลง
สัญญาณดิจิทัลเพื่อให้ข้อมูลส่งผ่านโทรศัพท์ได้

2)โมเดฺมเเบบหมุนโทรศัพท์  (dial-up  modem) เป็นโมเด็มที่ใช้ต่อเข้ากับผู้ให้บริการ
อินเตอร์เน็ตผ่านทางสายโทรศัพท์

1.2)ดิจิทัลโมเด็ม (digital  modem)  เป็นโมเด็มที่ใช้รับเเละส่งข้อมูลผ่านสายเชื่อมสัญญาณ

ดีเเอสเเอด (digital  Sudscrider: DSL)


.เคเบิลโมเด็ม  (cadle  modem)






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น