วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

4.1 บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.1 บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การติดต่อสื่อสารเป็นการพูดคุยหรือส่งข่าวสารกันของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วนท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรือผ่านทางตัวอักษร โดยส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารในระยะใกล้ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้าขึ้นมึการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับใช้ในการสื่อสาร ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกล และสะดวกรวดเร็วมากขึ้น เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรสาร
ปัจจุบันี้มีการติต่อสื่อสารผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต


การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
1) ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล ปัจจุบันมีข้อมูลจำนวนมากสามารถถูกส่งผ่านเครือข่ายการสื่อสารได้อย้างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
2) ความถูกต้องของข้อมูล การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพวเตอร์ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
เป็นการส่งแบบดิจิทัล
3)ความเร็วของการรับส่งข้อมูล  การใช้คอมพิวเตอร์ในการส่งข้อมูลหรือหาข้อมูลจากฐาน
ข้อมูลขนาดใหญ่ทพได้อยา่งรวดเร็ว  เนีืองจากสัญญาทางไฟฟ้าด้วยความเร็ซไกล้เคียง
4)การประหยัดในการใช้จายในการสื่อสารข้อมูล  การรับและส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
สามารถทำได้ในราคาถูกการสื่อสารแบบอื่น
5)การสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ในองค์กรสามารถใช้อุปกรณ์ สารสนเทศรวมกันได้โดย
ไม่ต้องเสียต่าใช้จ่ายติดตั้งให้กับอุปกรณ์ให้กับทุกเครื่อง
6)ความสะดวกในการประสารงาน  ในองค์กรที่มีหน่วยงานย่อยหลายแห่งที่อยู่ห่างไกล้สามารถทำงานประสารกันผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
7)ขยายบริการขององค์กร  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้องค์กรสามารถกระจายที่่ทำการ
ไปตามจุดต่างๆ ที่ต้องการให้บริการ
8)กรสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครื่อข่าย  การให้บริการต่างๆ  ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้บริการได้ทุกทีทุกเวลา

4.2การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล  หมายถึง  การเเลกเปลี่ยนข้อมูล/ข่าวสารโดยผ่านทางสื่อกลางในการสื่อสาร
ซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายก็ได้  องค์ประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ดังรูปที่4.4 ประกอบด้วย

1.ข้อมูล/ข่าวสาร  (data/message)  คือ  ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆที่ต้องการส่งไปยังผู้รับ
โดยข้อมูล/ข่าวสารอาจประกอบด้วยข้อความ  ตัวเลข  รูปภาพ  เสียง  วิดิทัศน์หรือสื่อประสม

2.ผู้สง  (sender)  คือ  คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร  ซึ่งอาจเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์  โทรศัพท์  กล้องวิดิทัศท์  เป็นต้น

3.ผู้รับ(receiver)  คือ  คนหรืออุปกรณที่ใช้สำหรับข้อมุล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่งข้อมูลส่งให้
ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์  โทรศัพท์  เป็นต้น

4.สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmissio  media)  คือ  สิ่งที่ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมุล
ข้าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง  โดยสื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย

5.โพรโทคอน (protocol)  คือ  กฏเกณฑ์  ระเบียบ  หรือข้อปฎิบัติต่างๆ  ที่กำหนดขึ้นมา
เพื่อเป็นข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับผู้ส่ง




4.2.1  สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ  สัญญาณเเอนะล็อก
(analog  signal)  และสัยญาณดิจิทัล

4.2.2การถ่ายโอนข้อมูล  เป็นการส่ง
สัญาณออกจากอุปกรณ์ส่ง ไปยังอุปกรณรับ
โดยจำแนกได้2แบบคือ
1)การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาด
2)การถ่ายโอนข้อมูลเเบบอนุกรม

4.2.3รูปแบบการรับส่งข้อมูล
สามารถเเบ่งได้เป็น3แบบดังนี้
1)การสื่อสารทางเดียว
2)การสื่อสารสองทางครึ่งอัตตรา
3)การสือสารสองทางเต็มอัตตรา

4.3  สื่อกลางในการสือสารข้อมูล
การสือสารทุกชนิดต้องอาศัยสือกลางในการส่งผ่านข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทาง
4.3.1สื่อกลางแบบใช้สาย
1)สายคู่บิดเกรียว  (twisted  pair  cadle)
2)สายโคเอกซ์ (coaxial  cadle)
3)สายไปเบอร์ออพติก (fiber-opdic  cadle
4.3.2สื่อกลางแบบไร้สาย


สื่อกลางข้องการสื่อสารเหล่านี้ เช่น  อินฟราเรด  ไมโครเวฟ คลื่อนวิทยุ
1)อินฟราเรด  สื่อกลางประเภทนี้มักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกรีดขวางระหว่างตัวส่ง
และตัวรับสัญญาณ
2)ไมโครเวฟ เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง  ใช้สำหรับการเชื่อมต่อระยะไกล
โดยการส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ได้การส่ง
3)คลื่อนวิทยุ  เป็นสื่อกลางที่ใช้ส่งสัญยาณไปในอากาศ โดยสามารถส่งในระยะทางได้ทั้งไกล
และไกล้
4)ดาวเทียมสื่อสาร   พัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสถานีรับส่งไมโครเวฟบนผิวโลก
โดยเป็นสถานีรับส่งส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ




4.4   เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  (computer  network)   เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพวงเข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลและทรัพนากรร่วมกันได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทตามพื้นที่ที่ครอบคุมใช้งาน
ของเครือข่าย

1)เครื่อข่ายส่วนบุคคล  หรือแพน(Personal  Area  Networt: PAN)  เป็นเครือข่ายที่ใช้
ส่วนบุคคล  เช่น  การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เเละโทรศัพท์มือถือ

2)เครือข่าเฉพาะที่  หรือเเลน (Local  Area  Network: LAN)เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน

3)เครือข่ายนคนหลวง หรือเเมน  (Metropolitan  Area  Network: MAN)เป็นเครือข่าย
ที่เชื่อมโยงเเลนที่อยู่หางไกลออกไป

4)เครือข่ายวงกว้าง  หรือแวน (Wide Area  Networt: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้
ในการเชื่อมโยงกับเครืองข่ายอื่นที่อยู่ไกล้จากกันมาก


4.4.1ลักษณะของเครือข่าย   ในการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการสื่อสารได้ดังนี้

1)เครือข่ายเเบบรับ-ให้บริการ หรือไคลเอนท์/เซิร์ฟเวอร์   เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องให้บริการต่างๆ

2.เครือข่ายระดับเดียวกัน  (Peer-to-Peer  network: P2P  network)เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเป็นได้ทั้งเครื่องให้บริการเเละเครื่องรับบริการในขณะเดียวกัน  การวช้งานส่วนใหญมักใช้ในการเเบ่งปันข้อมูล

4.4.2รูปร่างเครือข่าย  การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็น
เครือขายมีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ

1)เครือข่ายเเบบบัส (dus  topology) เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างไม่ยุ้งยาก  สถานีใน
เครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียวที่เรียกว่า  บัส (bus)  การจัดส่งข้อมูลลงใน
บัสจึงไปถึงทุกสถานีได้

2)เครือขายเเบบวงเเหวน  (ring  topology)เป็นการเชื่อมโยงเเต่ละสถานีเข้าด้วยกัน
วงเเหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยูในวงเเหวนไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับ หากข้อมูลที่ส่งเป็นของ
สถานนี้ได้สถานนี้นั้นก็รับไว้ ถ้าไม่ใช้ก็ส่งต่อไป

3)เครือขายเเบบดาว(star  topology)  เป็นการเชื่อมต่อสถานี้ในเครื่อข่าย  โดยทุกสถานี้จะ
ต่อเข้ากับหน่อยสลับสายกลาง

4)เครือขายเเบบเมซ    (mesh    topology) เป็นรูปแบบของการเชื่อมต่อที่มีความนิยมมาก
และมีประสิทธภาพสูงเนื่องจากถ้ามีเส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ไดคู่หนึ่งขาดจากกันการติดต่อสื่อสารระหว่างคู่นั้นยังสามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง


4.5โพรโทคอล
การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์  และอุผกรณ์เครือข่ายที่ผลิตหลายลายผ่านทาง
ระบบต่างๆเครือข่ายชนิดต่างๆ  กัน  ไม่สามารถเชื่องต่อโดยตรงกันได้
.
ทีซีพี/ไอพี(Transmission  Control   Protocol  /   Internet  Protocol:  TCP/IP)
เป็นโพรโทคอลที่ใช้ในการสื่อสารในระบบอินเตอร์เน็ต  โดยมีการระบุผู้รับส่งในเครือข่ายเเละจดการเเบ่งข้อมูลเป็นชิ้นเล็กๆ

.ไวไฟ  (Wireless  Fidelity:  wi-fi)มักถูกนำไปอ้างถึงเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย  ตามมาตรฐาน  IEEE  802.11ซึ่งใช้คลื่นวิทยุความถี่2.4 ฌ็ผ  เป็นสื่อกลางในการติดต่อสือสาร  ไวไปเกิด
จากการรวมกลุ่มกันของผู้ผลิตอุปกรณ์  เพื่อทดสอบว่าอุปกรณ์ที่ผลิตึขึ้นทำงานได้ตามมาตรฐาน

.ไออาร์ดีเอ  (Infred    Data  Association:  IrDA) เป็นโพรโทคอลใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
.
บูลทูท  (dluetooth)  เป็นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่2.4

4.6อุปกรณ์สื่อสาร
 อุปกรณ์การสื่อสาร  (communication  devices)  ทำหน้าที่รับเเละส่งอุปกรณ์ส่ง
และรับข้อมูล  โดยมีการส่งผ่านทางสื่อกลางดังทีี่กล่าวมาเเล้ว  สัญญาที่ส่งออกอาจอยู่ในรูปแบบ
ดิจดตอล  หรือแบบแอนะล็อก  ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับสื่อกลางมราใช้ในการเชื่อมต่อ

1)โมเด็ม  (modem)  เป็นอุปกรณที่แปลสัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแอนะล็อก  และแปลง
สัญญาณดิจิทัลเพื่อให้ข้อมูลส่งผ่านโทรศัพท์ได้

2)โมเดฺมเเบบหมุนโทรศัพท์  (dial-up  modem) เป็นโมเด็มที่ใช้ต่อเข้ากับผู้ให้บริการ
อินเตอร์เน็ตผ่านทางสายโทรศัพท์

1.2)ดิจิทัลโมเด็ม (digital  modem)  เป็นโมเด็มที่ใช้รับเเละส่งข้อมูลผ่านสายเชื่อมสัญญาณ

ดีเเอสเเอด (digital  Sudscrider: DSL)


.เคเบิลโมเด็ม  (cadle  modem)






วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้


2.1 ข้อมูล  สารสนเทศ และความรู้

ความก้าวหน้าของเทคโลโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน  ทำให้ในแต่ล่ะวันมีการผลิตข้อมูลขึ้นมา
จำนวนมาก  ข้อมูลบ้างส่วนจะนำมาประมวลผลเพื่อนำไปประยุคต์ใช้ในด้านต่างๆ  ตัวอย่างเช่น
ข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละวัน  ซึ่งสามารถช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้
ได้เพียงค้นหาข้อความ  รูปภาพ  หรือวีดิทัศน์  ที่ตรงกับความสนใจเท่านั้น   แต่ไม่สามารถนำข้อมูลเหล่านี้
มาประมวลผลและแสดงความรู้ที่แฝงอยู่ได้อย่างมีประสิทธิผล


จากการสังเกต  การทดลอง  เช่นบันทึกไว้เป็น  ตัวเลข   ข้อความ  รูปภาพ  และสัญลักษณ์

สารสนเทศ(information)  คือ  ผลลัพธ์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผล  เพื่อให้ได้
สิ่งที่เป็นประโยนช์ในการนำไปใช้งานมากขึ้น  เช่น  ส่วนสูลของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ล่ะคน
ในชั้นเรียนเป็นข้อมูล  จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้มาเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย
หรือการหาค่าเฉี่ลยของส่วนสูงของนัหเรียน
 
ความรู้(knowledge)  เป็นคำที่มีความหมายก้วาง  และใช้กันโดยทั่ว  ในด้านวิทยาการ
คอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ในหลายแง่มุม  ตึความหมายในแง่มุมหนึ่ง
ที่สอดคล้องกับข้อมุลและสารสนเทศความรู้  คือสิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัด
รูปแบบและประมวลผลเพื่อนำไปประยุคต์ใช้ปัญหาที่ต้องการนำข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก่ไข
 
ตัวอย่างที่2.2  สมมุติว่าเราไม่เคยมีความรู้มาก่อนเลยว่า   เพราะเหตุใดนักเรียนบางคน จึงสูง
กว่านักเรียนคนอื่น  เราสามารถนำส่วนสูงของนักเรียนแต่ละคนมาจับคู่กับคุณสมบัติอื่นๆ  เช่น
ลักษณะนิสัยการรับประทานอาหาร  (รับอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำหรือไม่)  และ
ความถี่ในการออกกำลังกาย  (ทุกวัน  สัปดาห์ละ  3  ครั้ง  เดือนละครั้ง  หรือน้อยครั้ง)

2.2การจัดการความรู้  (knowledge  management)

ในการบริหารองค์กร  สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแต่ไม่สามารถประเมินคุณค่าเป็นตัวเงินได้  คือ  ความรู้
ที่ได้จากการปฏิบัติงาน   เนื่องจากในการทำงาน   การแก้ปัญหา    การแสวงหาความรู้   การนำความรู้
มาปรับใช้   โดยพนักงานในระดับต่างๆ  เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ในการทำงาน  พนักงานที่ปฎิบัติงาน
หนึ่งคน  จะต้องใช้ความรู้และทกษะเฉพาะอย่างไร  เพื่อทำงานให้ลุล่วงไปได้  ซึ่งการจะทำให้พนักงาน
หนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นนั้น  จะต้องใช้การอบรมเพื่อสร้างความรู้รวมถึงทักษะให้กับ
พนักงานเหล่านี้  ซึ่งความรู้ที่ถ่ายทอดให้แก่พนักงานนี้  จัดว่าเป็นทุนทางปัญญา(intellectual  capital)
ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างสูงกับองค์กร   เพราะความรู้บ้างอย่างต้องใช้งบประมาณและเวลาในการ
สร้างขึ้น  ทำอย่างไรจึงจะสามารถจัดการความรู้ในองค์กรเหล่านี้ให้เกิดประสิทธ์ภาพสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้   สามารถช่วยองค์กรในการจัดการความรู้เหล่นนี้ได้
โดยระบบนี้จะทำงานแตกต่างกันไปตามจุดมุ้งหมายขององค์กร   ซึ่งผู้ใช้องค์กรที่อาจประกอบด้วย
พนักงานทั่วไป   ผู้บริหาร  หรือบุคคลภายนอก  จะเป็นผู้สร้างสารสนเทศเพื่อเก็บไว้ในระบบนี้
โดยระบบจะต้องสามารถจัดหมวดหมู่  ค้นหา  รวมถึงกระจายสารสนเทศเหล่านี้ให้กับผู้ใช้คนอื่นเพื่อให้ผู้ใช้แต่ละคนสามารถนำสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิ์ของตนเอง

2.3ลักษณะของข้อมูลทึ่ดี

มีคำกล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไว้อย่างหน้าฟังว่า  ถ้าข้อมู,เค้าเป็นขยะสิ่งที่ออกมาก็จะเป็นขยะ
(Gardage  In,  Gardage  Out)  ซึ่งหมายความว่าถ้าข้อมูลที่นำไปประมวลผล
เป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะด้วยคุณภาพไปด้วย
1)ความถูกต้องของข้อมูล  เป็นลักษณะยิ่งของข้อมูล  ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย  ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสำคัญที่เกิดขึ้นโดนเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่  และไม่มีการตรวจสอบเช่น  ข้อมูลมนโลกอินเตอร์เน็ตซึ่งจำเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อนจะนำมาใช้เสนอ
เช่นข้อมูลเสียงเก็บจากไมโครโฟน

2)ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนำไปใช้งาน  ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วนจัดเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพ
ได้เช่นกันข้อมูลประวัติคนไข้  หากไม่มีหมู่เลือนของคนไข้จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้    หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า  เป็นต้น

3)ความถูกต้องตามเวลา
ในบางกรณีข้อมูลผูกกับเงื่อนไขของเวลา  ซึ่งถ้าผิดจากเงื่อนไขของเวลาไปแล้ว  ข้อมูลนั้นอาจรถคุณภาพ
ลงไป   หรือแม้กระทั้งอาจไม่สามารถใช้ได้  เช่น
2.11ในทางการแพทย์แล้วข้อมูลจะต้องถูกใส่
เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ได้ยา  เพื่อให้แพทย์คนอื่นๆ  ได้ทราบ  คนไข้ได้รับยาชนิดนี้ไป

4)ความสอดคล้องกันของข้อมูล   ในกรณีที่ข้อมุลนั้นมาจากหลายแห่ง  จะเกิดปัญหาในเรื่อง
ของตวามสอดคล้องกันของข้อมูล  เช่น  ในบรษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า
หากต้องการนำข้อมูลไปควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีข้อมูลของลูกค้าอยู่เช่นกัน
แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัทแห่งแรก  เป็นที่อยู่ของที่พักอาศัยของลูกค้า
ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ทำงานของลูกค้า  ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง

2.4การจัดเก็บข้อมูล

เมื่อเห็นความสำคัญของข้อมูลแล้ว  ทำอย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูล
เหล่านั้นให้คงอยู่    รวมถึงทำให้สามารถประมวณผลข้อมูลนั้นอย่างรวดเร็ว
โดยมากแล้วจะรวมไว้ในฐานข้อมูล   ซึ่งนำมาใช้ในการจัดเก็บ
.การจัดเก็บอย่างมีประสิทธ์ภาพ
.การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว
.การจำกัดสิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร


1)เขตข้อมูล       (field)     เมื่อนำข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ  ที่ต้องการเก็บ
ในฐานข้อมูล   เราจะจัดข้อมูลมารวมกันที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความหมายบ้างอย่าง

.จำนวนเต็ม      (integer)  คอมพิมเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด  32  บิต  ซึ่งขนาด
ตัวเลขนี้อาจเปปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเตรื่องคอมพิวเตอร์ตัวเลขสองขนาด32บิต
สามารถแทนจำนวนเลขจำนวนเต็มได้ตั้งแต่-2.147.483.648  ถึง  3.147.483.647
เป็นตัวเลขจำนวนเต็มที่ไม่ระบุเครื่องหมาย

.จำนวนทศนิยม  (decimal  numder)  ในคอมพิวเตอร์  จะเก็บตัวเลขทศนิยม  โดยใช้ระบบ


โฟลททิงพอยต์   (floating   point )       ซึ่งการเก็บลักษณะนี้ไม่มีการกำหนดตำแหน่งตายตัวสำหรับ
ตำแหน่งของจุด

.ข้อคาวม    (text)    ในการแทนข้อคาวมนั้นจะต้องเปลี่ยนข้อคาวมให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักษร
แต่ละตัวเสียก่อนตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสเอสกี  (ASCII  code)

.วันเวลา   (date/time)  ข้อมู,ที่เป็นวันเวลา  เช่น  วันที่เริ่มใช้งาน   วันลงทะเบียน
และเวลาที่ซื้อสินค้า  มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น

.ไฟล์   (file)  เขตข้อมูลบ้างประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่นๆซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้
เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่

2)ระเบียบ    (record)      คือ  กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน  โดยเขตข้อมุลแต่ละ
ส่วนอาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน

3)ตาราง    (tadle)   คือ  กลุ่มของระเบียบ   ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียบจะเก็บข้อมูลที่มี
คาวมสัมพันธ์กัน   ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆ  ระเบียบ

4)ฐานข้อมูล  (datadase เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกันตารางแต่ละตาราง
จะมีความสัมพันธ์กันโดนใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมืนอกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน
บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของต้นเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่นๆ
2.5จริยธรรมในโลกของข้อมูล
คำว่าจริยธรรมเป็นคำที่มีความหมายกว้าง
แม้กระทั้งในด้านคอมพิวเตอร์   ก็มีการกล่าวถึง
ในเรื่องจริยธรรมเช่นกัน  ในที่นี้จะกล่าวถึง
จริยธรรมในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสาสนเทศในประเด็นต่างๆ




2.5.1ความเป็นส่วนตัว
เมื่อข้อมูลปรากฏอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น   ทำให้การรวบรวมข้อมูล
การเข้าถึง   การค้นหา   และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทำได้ง่ายและเร็วขึ้น
ทำให้ข้อมูลบ้างประเภทที่มีความเป็นส่วนตัวสูง  เช่น  เลขประจำตัวประชาชน   วันเดือนปีเกิด


2.5.2สิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูล
เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลในการเก็บข้อมูล
ในฐานข้อมูลจะมีการกำหนดสิทธ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ในแต่ละกลุ่ม
โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้คนหนึ่งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่าจะเข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง


มาตรา5

ผู้ใดเข้าถึงโดยไม่ซึงระบบ
คอมพิวเตอร์มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดย
เฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน  หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท


มาตรา7

ผู้ใดเข้าถึงข้อมูลมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับต้น   ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่เหมือนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ


มาตรา8

 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกเหมือนบาท

2.5.3ทรัพย์สินทางปัญญา

ในกระบวนการผลิตโปรแกรม  ระบบปฏิบัติการ  รูปภาพ  เพลง  หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
จำเป็นต้องมีต้นทุนสูง   และใช้เวลาในการผลิตยาวนาน   แต่เมื่อสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่
ในรูปแบบของข้อมูลดิจิทัล  ผู้ใช้คนอื่นๆ  สามารถทำซ่ำและนำไปใช้โดยไม่ได้
จ่ายเงินให้กับผู้ผลิตก่อให้เกิดความเสียทางหายธรุกิจเจ้าของข้อมูล 

วันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



1.1ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทต่อชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก
ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่(mobile phone)
องค์กรรัฐบาลได้เห็นความสำคัญของระบบเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารจึงประกาศให้ปี พ.ศ.2538 เป็นชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบัน มีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารต่างๆมากมาย ดังรูปที่1.2
1.การเรียนทางไกลผ่านทางเครื่อขายคอมพิวเตอร์       

2.การสั่งซื้อสินค้าและชำระเงินทางบัตรเคดิต
     ผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

3.การเบิกเงินด้วยบัตรเอทีเอ็มจากตู้เอทีเอ็มของ                         
   ธนาคารต่างๆ 

     
   4.การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล(electronic mail:e- mail)
      ซึ่งเป็นการส่งข้อความถึงกันผ่าน เครือข่าย
          คอมพิวเตอร์ผู้รับสามารถเปิดคอมพิว
        เตอร์เพื่ออ่านจดหมายหรือข้อความต่างๆ
           

คำว่า  เทคโนโลยีสารสนเทศ  ( Information  Technology: IT)  เรียกย่อว่าไอทีประกอบด้วยคำว่า(เทคโนโลยี) และคำว่า สารสนเทศ นำมารวมกันเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศและคำว่า
เรียกย่อๆว่า(ไอซีที)
  
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุคต์เพื่อสร้างจักการกับสานสนเทศอย่างเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ตต่อบุคคล กลุ่มบุคคลหรือ องค์กรทั้งนี้ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศยังต้องพึ่งพาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ซึ่งเป็นวิธีการที่จะส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อการแลกเปลี่ยนหรือเผยแพร่ข้อมูล   และสารสนเทสได้อย่างรวจเร็วทันต่อการใช้ประโยชน์ผ่านอุปกรณ์สื่อสารเช่นวิทยุ โทรศัพท์ เครื่อโทรสาร คอมพิเตอร์ คลื่นวิทยุ และดาวเทียม1.3ดังนั้นในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารจึงมักจะใช้ควบคู่กัน
.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  ตามแผนแม่บทเมคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูล  และการสื่อสารนับตั้งแต่การสร้าง  การนำมาวิเคราะห์หรือการประมวณผล  การรับและการสื่อสารและการนำข้อมูลกลับไปใช้งานใหม่

  1.2องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทส  เป็นระบบที่ช้วนเสริมประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร  ระบบสารสนเทศประกอบด้วย
1.2.1ฮาร์ดแวร์  (hardware) หมายถึง  ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ
1.2.2 ซอฟต์แวร์   (softwart)      หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆเพื่อให้ทำงานตามคำสั่งของผู้ใช้งาน

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
1.เปิด.ปิดเครื่อง
2.การจัดการด้านความปลอดภัย
3.ควบคุมระบบเครือข่าย
4.ปรับปรุงระบบให้เป็นปัจจุบัน
5.จัดการโปรแกรมจัดการข้อมูลและโปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
6.ทำงานร่วมกับอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ
7.เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
8.การจัดการหน่วยความจำ
9.กำกับการดูแลของเครื่อง
10.การจัดการโปรแกรม
11.การติดต่อผู้ใช้งาน

1)ระบบปฎิบัติการ(operating  System:OS)เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์






2)โปรแกรมอรรถประโยนช์(utilities  program) เป็นโปรแกรมที่ช้วยเสริมการทำงานของคอมพิวเตอร์หรือช้วยโปรแกรมใช้งานอื่นๆให้มีความสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น








3)โปรแกรมขับอุปกรณ์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์(devicw  driver)เป็นโปรแกรมที่ช้วยในการติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรือใช้งานอุปกรณ์ต่างๆได้ดังรูป  1.8




4)    โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลงโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษษคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้                            
                                                       
    




     %ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (applicaton  software)  หมายถึง  ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างไร


1.2.3ข้อมูล(data)ข้อมูลจะถูกรวบร่วมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า  เช่นคีย์บอร์ด์  เมาส์  และสแกนเนอร์(scanner)
1.2.4บุคลากร(people)บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของระบบสารสนเทศในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ
1.2.5ขั้นตอนการปฎิบัติงาน(procedure)มีขั้นตอนการปฎิบัติงานที่เป็นลำดับขั้นชัดเจน  เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่ายและดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่น  ขั้นตอนการทำสำเนาข้อมูลขั้นตอนการปฎิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย  หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆเกิดการชำรุดเสียหายขั้นตอนต่างๆเหล่านี้ควรได้รับการรวบร่วมและจัดทำให้เป็นรูปเล่มของคู่มือการใช้งาน
1.3ประโยชน์และตังอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีส่วนทำให้ชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทยในปัจจุบันมีความสะดวกสบายมากขึ้น  ทำให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่ายและรวดเร็ว
มีการทำกิจกรรมหลายสิ่งหลายอย่างร่วมกันง่ายขึ้น  เช่น
1.3.1ด้านการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารถูกนำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารด้านการศึกษา

1.3.2ด้านการแพทย์และสาธารณสุขเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนำมาใช้เริ่มตั้งแต่การทำทะเบียนคนไข้  ตลอดจนการวินิฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ
1.3.3ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเทคโนดลยีสารสนเทศและการซื้อสารถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม  เช่นการจัดการระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตรนอกจากนี้ยังช้วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอตสาหกรรม  การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทำงานบ้านและหุ่นยนต์ที่ต้องเสี่ยงภัยและเปงอันตรายต่อสุขภาพ

1.3.7ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรม
มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ  หรือจำลองสภาวณ์ต่างๆ

1.3.8ด้านการพาณิชย์  องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารในการบริหารจัดการเพื่อช้วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับองกรณ์ในการทำงานทำการประสานงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆของแต่ล่ะหน่วยในองค์กรหรือระหว่างองค์กรเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
1.4แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารเมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตถึงปัจจุบันเห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์สื่อสารแบบพงพามากขึ้นเรื่อยๆๆเริ่มจากวิทยุเรียกตัวซึ้งเป้นเครื่องรับข้อความ  มาเป็นโทรศัพทืเครื่อนที่อุปกรณสื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานในด้านอื่นๆๆๆได้นอกจากกรพูดคุยธรรมดาโทรศัพท์เคลือนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ารูป  ฟังเพลง    ฟังวิทยุบ้างรุ่นมีลีกษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลได้   (personal  Digital  Assistant:  PDA)ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้อีกทั้งยังมีแบบหน้าจอสำผัส  ทำให้สดวกต่อการใช้งานมากขึ้น

1.4.2ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์และอุปกรเชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว(stand  alone)ต่อมามีการเชื่อมต่อึอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร  เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน  หรือใช้เครื่อพิมร่วมกันจนเกิดเป็นระบบรับและให้บริการ  หรือที่เยกว่าระบบรับ-ให้ยริการ(client-server  system)
โดยมีเคร่องให้บริการ(server) และเครื่องรับบริการ(client)ปัจจุบันมีการใช้แลนไร้สาย(wirelessLAN)ในสถาบันการศึกษาและองค์กรหลายแห่งการให้บริการแลนไร้สายหรือไวไฟ(wi-fi)ตามห้างสรรพสินค้า  ร้านขายเคลื่องดืม  หรือห้องรับรองของโรงแรมใหญ่ๆ   ภายใต้ความร่วมมือของผู้ให้บริการทำให้นักธุรกิจสามารถดำเนินธุรกิจผ่านระบบอินเตอร์เน็ตแบบไร้สายได้
1.4.3ด้านเทคโนโลยีระบบทำงานอัตโนมัติสามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามาแทนีท่ที่มากขึ้น  เช่น  ระบบแนะนำเส้นทางจราจร     ระบบตรวจหาตำแหน่งของวัติถุ     ระบบควบคุมความปลอดภัยในอาคาร  เกี่ยวข้องมากกว้าที่เป้นอยู้ในปัจจุบัน
1.5คาวมเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว

1)ด้านสังคม  สภาพเหมือนจิง  การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำงานต่างๆจนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อทางอินเตอร์เน๊ตหรือที่รู้จักกันว่าไซเบอร์สเปซ  ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆเช่นพูดคุย  การซื้อสินค้าและบริการการทำงานผ่านทางเคลรือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดสภาพที่เสมือนจิง
2)ด้านเศษฐกิจ  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลก่พิวัฒน์
เพราะสามารถชมข่าวชมรายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายเสียผ่านดาวเทียมของประเทสต่างๆได้ทั่วโลกสามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันทีใช้อินเตอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันระบบเศษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศ  ก็กระจายเป็นเศรฐกิจโลกเกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว่งาขวางอย่างรวดเร็ว

3)ด้านสิ่งแวดล้อม  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติสิ่งแวดล้อมเช่นระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั้งโดยใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมร่วมกับการเก็บระดับข้อมูลระดับน้ำทะเลความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์

1.6ตัวอย่างทางด้านอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตัวอย่างอาชีพด้าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

-นักเขียนโปรแกรมหรือแกรมเมอร์
(programmer)
ทำหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานต่างๆเช่น
โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
โปรแกรมที่ใช้กับในงานด้านบัญชี
โปรแกรมที่ใช้กับระบบงานระบบขนาดใหญ่ขององค์กร

-นักวิเคราะห์ระบบ
(system analyst)
ทำหน้าที่ในการศึกษาวิเตราะห์และพัมนาสารสนเทศให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้งานซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย

-ผู้ดูแลและบริหารข้อมูล
(database administrator)
ทำหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล
(database)รวมถึงการออกแบบบำรุงรักษาข้อมูลและการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูลเช่นการกำหนดบัญชีผู้ใช้ การกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้



-ผู้ดูและและบริหารระบบ
(syatem administrator)
ทำหน้าที่บริหารและจัดการระบบ
คอมพิวเตอร์ในองค์กร  โดยดูแลการติดตั้ง
และบำรุงรักษาระบบปฏิบัติการ  การติดตั้ง
ฮาร์ดแวร์  การติดตั้งและการปรับปรุง
ซอฟต์แวร์สร้าง  ออกแบบและบำรุงรักษา
บัญชีผู้ใช้  สำหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและ
บริหารระบบ

-ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย
(network  administrator)
ทำหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และดูแลรักษา
ความปลอดภัยระบบเครือข่ายขององค์กร
เช่น  ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของพนักงานและติดตั้งโปรแกรมป้องกันผู้บุกรุกเครือข่าย

-ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์
(wedmaswer)
ทำหน้าที่ออกแบบพัฒนา  ปรับปรุง
และบำรุงรักษาเว็บไซต์ใหมีความทันสมัย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูล
ให้เป็นปัจจุบันเสมอ





-เจ้าหน้าที่เทคนิค
(technician)
ทำหน้าที่ซ่อมบำรุงรักษาเครื่อง
คอมพิวเตอร์  ติดตั้งโปรแกรม  หรือติดตัง
ฮาร์ดแวร์ต่างๆและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิด
จากการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใน
องค์กร

-นักเขียนเกม
(game maker)
ทำหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรม
เกมคอมพิวเตอร์  ในปัจจุบันนี้การเขียนเกม
คอมพิวเตอร์  เป็นอาชีพที่ได้รับความนิยม
อย่างสูงในประเทศไทย